วันอังคารที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561

ถักโครเชต์






                ใครที่มีใจให้โครเชต์อยู่บ้างแล้ว ก็คงเคยหาหนังสือโครเชต์มาเปิดดูแล้วบ้าง แต่คงมีหลาย ๆ คนที่เป็นเหมือน Bemochi ที่พยายามแกะอยู่นานแต่ก็ไม่เก็ท บางคนอาจตระะเวนหาที่เรียน แต่ก็ต้องลำบากกับการเดินทาง หรือบางคนก็ท้อใจจนต้องทิ้งหนังสือโครเชต์ไป ไม่เป็นไรค่ะ มาเริ่มต้นกันใหม่กับ Lollipop Crochet Classes บทเรียนโครเชต์ในบล็อกนี้ จะเริ่มตั้งแต่พื้นฐานสุด ๆ ตั้งแต่อุปกรณ์ที่ใช้ การจับเข็มโครเชต์และไหม การถักลายพื้นฐาน แบบ step by step แล้วค่อยเพิ่มความเข็มข้นขึ้นเรื่อย ๆ ค่ะ
มาถักโครเชต์ไปกับ Lollipop Crochet กันค่ะ ;-)

โครเชต์...ใคร ๆ ก็ทำได้

โครเชต์ (Crochet) เป็นภาษาฝรั่งเศษ หมายถึง “ตะขอ เป็นกระบวนการในการสร้างโครเชต์ มาจากคำว่า  croc  หรือ  croche  แปลว่าตะขอ หมายถึงเครื่องมือที่ใช้ในการทำของใช้หรูหราในชีวิตประจำวัน การถักไหมพรมน่าจะมีมาตั้งแต่โบราณในเมืองจีน อาระเบียหรืออเมริกาใต้ ด้วยการนำด้าย ไหม ขนสัตว์มาถักทอเป็นห่วงโซ่ร้อยต่อกันจนเป็นผืนผ้าลวดลายงดงาม และได้รับความนิยมในยุโรปราว ค.ศ.  1800 .                           สมัยแรกมนุษย์ใช้เพียงนิ้วชี้งอเป็นรูปตะขอถักเส้นไหม จึงไม่มีหลักฐานเป็นเครื่องมือ มาให้คนรุ่นหลังได้เห็น  ภายหลังมีการพัฒนาเครื่องมือโครเชต์แทนนิ้วจากงาช้าง ทองเหลืองหรือไม้เนื้อแข็ง   โครเชต์ในยุคแรกเริ่มเป็นงานกลุ่มแม่บ้าน เพราะชนชั้นสูงใช้เฉพาะลูกไม้ที่เรียกว่า lacc  ถักลำบาก  ด้วยกระสวยเรียกว่า  Bobbin  ต่อมาเมื่อพระราชินีวิกตอเรีย ทรงโปรดไอริชโครเชต์ ถึงขนาดลงมือถักด้วยพระองค์เอง ชนชั้นกลางในสมัยนั้นจึงเริ่มหันมาซื้อผลิตภัณฑ์โครเชต์จากกลุ่มแม่บ้าน. 

‘ วิธีจับไหมพรม ‘

 ‘ วิธีเลือกเข็ม ‘


‘ การถักโซ๋ ‘


‘ สัญลักษณ์ของลาย ‘
‘ สัญลักษณ์ลายที่ 2 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 3 ‘
‘ สัญลักษณ์ลายที่ 4 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 5 ‘



‘ สัญลักษณ์ลายที่ 6 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 7 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 8 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 9 ‘


‘ สัญลักษณ์ลายที่  10 ‘


‘ สัญลักษณ์ลายที่  11 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 12 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่  13 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่  14 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่  15 ‘

‘ สัญลักษณ์ลายที่ 16 ‘

การขึ้นต้นและลงท้าย

การเริ่มต้นถักวิธีต่าง ๆ 1

การเริ่มต้นถักวิธีต่าง ๆ 2





อ้างอิง

https://www.youtube.com/watch?v=j_wRpn9z3rA

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น